– บุคคลที่สัมผัสมูลนกพิราบ เช่น พนักงานทำความสะอาด ผู้ที่ชื่นชอบ และเลี้ยงนกพิราบไว้ดูเล่น
– บุคคลที่อยู่ในบริเวณที่นกพิราบ บินผ่าน หรือมาถ่ายมูลทิ้งไว้ เช่น ผู้ที่พักอาศัยอยู่ตามคอนโด
– บุคคลที่ชอบให้อาหารนกพิราบ
– เด็กเล็ก
– ผู้สูงอายุ
– ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
– ผู้ป่วยโรคหอบหืด
– ผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ
ผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากนกพิราบ ควรสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรงมากขึ้น ด้วยการออกกำลังกาย และหลีกเลี่ยงการสัมผัสนกพิราบ มูลนกพิการ และซากนกพิราบที่ตายแล้วให้มากที่สุด และอาจติดตั้ง อุปกรณ์ป้องกันนกพิราบ เพื่อป้องกันอีกชั้นหนึ่ง